Download

Filter_Search

วารสาร : ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561
ชื่องานวิจัย (TH): การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงส ด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว
ชื่องานวิจัย (EN) : The Development of the Internet of Things Laboratory Management Model with Embedded Technology
ผู้วิจัย : ณัฐพงศ พลสยม, ธรัช อารีราษฎร์ และธวัชชัย สหพงษ์
บทคัดย่อ (TH) : 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สงเคราะห์รูปแบบการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงสด้วย เทคโนโลยีสมองกลฝงตัว และ 2) สอบถามความคิดเห็นของผเชยวชาญที่มีต่อความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการ ห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงสด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว กลมเป้าหมาย ได้แก่ ผเชยวชาญ จานวน 9 คน ที่มีประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว หรือเป็นผที่มีประสบการณในการจัดการ ห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงส เพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงสด้วยเทคโนโลยี สมองกลฝังตัว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์รูปแบบแนวทางการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ต ออฟธิงสด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว แบบประเมินความเหมาะสมรูปแบบการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ต ออฟธิงส์ด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว สถิติที่ใช ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เ น็ตออฟธิงสด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว
ประกอบด้วย 5 สวนหลก ได้แก่ สวนที่ 1 นโยบายหลกการ ทฤษฎี สวนที่ 2 องค์ประกอบอินเทอร์เน็ตออฟธิงส สวนที่ 3 การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงส ส่วนท 4 องค์ประกอบการจัดการห้องเรียนอัจฉริยะ สวนที่ 5 ตัวชวัด ในการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงสด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว 2) ผเชยวชาญ มีความเห็นต่อ ความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงสด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.81, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.42) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ความเหมาะสมด้าน องค์ประกอบของรูปแบบ องค์ประกอบอินเทอร์เน็ตออฟธิงส อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.89 , สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความเหมาะสมด้านนโยบายหลักการทฤษฎีเทคโนโลยี internet of things (IOT) อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.89, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความเหมาะสมด้านองค์ประกอบของอินเทอร์เน็ตออฟธิงส อุปกรณฮาร์ดแวร์ อยู่ในระดับมาก ที่สุด (ค่าเฉลย 4.78, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.44) ความเหมาะสมด้านการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ IOT อยู่ในระดับ มากที่สด (ค่าเฉลย 4.89, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความเหมาะสมขององค์ประกอบด้านการจัดห้องเรียนอัจฉริยะ อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.89 , สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความสอดคลองของตัวบ่งชของรูปแบบด้าน ห้องปฏิบัติการ ระดับความสาเร็จของการบริหา รจัดการกระบวนการ PDCA อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.78 , สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.44) ความสอดคลองของตัวบ่งชของรูปแบบ ด้านผเรียน ความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.89, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความเหมาะสมด้านกระบวนการจัดการห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงส ด้วยเทคโนโลยีสมองกลฝังตัวขั้นวางแผน (P), ขั้นปฏิบัต (D), ขั้นทดลอง (C), ขั้นสะท้อนผล (A) อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.89, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความสอดคลองด้านองค์ประกอบด้านอินเทอร์เน็ตออฟธิงส อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.89, สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความสอดคลองด้านเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว อยู่ในระดับมากที่สด (ค่าเฉลย 4.89, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) ความสอดคล้องด้านการจัดวางห้องห้องปฏิบัติการอินเทอร์เน็ตออฟธิงส อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.89, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)

Abstract : 

This research aims to: 1) synthesize the management model of internet-based laboratories with embedded technology; and 2) ask expert opinions on the appropriateness of the Internet laboratory management model. Technologies with Embedded Technology The target audience consists of nine experts who have experience in teaching and learning with embedded technology or who have experience in managing the Internet-based labs to find a way to manage the lab. Internet-based technology with embedded technology The tools used in this study were interviewing, modeling, administration of internet-based laboratories with embedded technology.

The results of this research were as follows: 1) The Internet Analytical Laboratory Management Model Embedded technology consists of 5 main parts: Part 1, Principles, Principles, Theory, Part 2, Internet Components. Part 3 Internet Warehouse Management Part 4 Intelligent Classroom Management Part 5 Internet Based Laboratory Management with Embedded Technology 2) Experts have commented on the suitability of the internet-based lab administration model with embedded technology. At the highest level (mean 4.81, standard deviation 0.42), it was found that the suitability of form factor Internet Components Principle of Internet Theory of Internet Technology (IOT) was at the highest level (mean
4.89, standard deviation 0.33). Thomsen Hardware Accessories At the highest level (mean 4.89, standard
deviation 0.33), the appropriateness of the IOT laboratory management was at the highest level (mean
4.89, standard deviation 0.33). At the highest level (mean 4.89, standard deviation 0.33), the consistency of the indicator of the laboratory format The success of PDCA was at the highest level (mean 4.78, standard deviation 0.44). The consistency of the indicator of student satisfaction was at the highest level (4.89 mean. Bench standard 0.33). The appropriateness of the internet-based laboratory management process with Embedded Embedded (P), Practical(D), Experimental (C), Reflection (A) at the highest level (mean 4.89, standard deviation 0.33). At the highest level (mean 4.89, standard deviation 0.33). Embedded technology consistency At the highest level (mean 4.89, standard deviation 0.33). At the highest level (mean 4.89, standard deviation 0.33)

Keywords : การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ, อินเทอร์เน็ตออฟธิงส์, เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว
Full Paper : Download

<< ย้อนกลับ | |